Page 17 - anualreport-64
P. 17

17


                                                พระราชทานเข๎ามามีสํวนรํวมในการบริหารจัดการสาธารณภัย

                                                ของจังหวัดด๎วย
                                                   แผนปฏิบัติการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                                                   จังหวัดได๎แจ๎งให๎องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นด าเนินการ ปรับปรุง
                                                ข๎อมูล ข๎อเท็จจริงเกี่ยวกับสาธารณภัยที่อยูํในแผนปฏิบัติการในการ

                                                ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น

                                                ให๎ถูกต๎อง ครบถ๎วนมีความเป็นปัจจุบัน พร๎อมทั้งก าหนดแผน/โครงการ

                                                ในการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย

                           ปัญหาอุปสรรค            1. หนํวยงานที่เกี่ยวข๎องตามแผนฯ ยังไมํเข๎าใจแผนปูองกันและ
                                                บรรเทาสาธารณภัยจังหวัดรวมถึงแผนเผชิญเหตุอยํางแท๎จริง


                                                การจัดท าแผนฯ จึงเป็นเพียงงานเอกสาร ขาดการศึกษาและท าความ
                                                เข๎าใจจากหนํวยงานที่เกี่ยวข๎อง โดยเฉพาะผู๎บริหารท๎องถิ่น ขาดการ
                                                ฝึกซ๎อมเพื่อสร๎างความเข๎าใจแผนฯ ขั้นตอนการปฏิบัติและปรับปรุง

                                                ข๎อบกพรํองให๎ครบทุกขั้นตอน
                                                   2. เจ๎าหน๎าที่ระดับอ าเภอ ได๎แกํ ปลัดอ าเภอ ปรับเปลี่ยนโยกย๎าย


                                                ต าแหนํงและพื้นที่ปฏิบัติงานบํอย ท าให๎ผู๎รับชอบใหมํต๎องเรียนรู๎ปัญหา
                                                ภัยแล๎งของพื้นที่ จึงขาดประสบการณ์เชิงพื้นที่
                                                   3..กรณีภัยหนาวไมํได๎เงินทดรองแตํใช๎เงินงบประมาณจากเงิน


                                                บริจาคและต๎องรีบท าการบริจาคเนื่องจากมีระยะเวลาจ ากัด


                 “            ข้อเสนอแนะจากการตรวจราชการ (เชิงพื้นที่)




                             .ให๎จังหวัดซักซ๎อมและประมวลแนวคิดทิศทางการจัดการสาธารณภัยที่ใช๎อยูํให๎เป็น
                       ปัจจุบันและสามารถน าไปประยุกต์ใช๎ในการจัดท าแผนในระดับตําง ๆ พร๎อมทั้งประสาน องค์กร

                       ปกครองสํวนท๎องถิ่นและหนํวยงานที่เกี่ยวข๎องสามารถบูรณาการในการปูองกันและบรรเทา

                       สาธารณภัยในพื้นที่ตั้งแตํกํอนเกิดภัย ระหวํางเกิดภัย และหลังเกิดภัย
                             .ขอให๎จังหวัดถอดบทเรียนแผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยของจังหวัด โดยน า
                       ผลการด าเนินงาน ปัญหา/อุปสรรค มาใช๎เป็นข๎อมูลในการปรับปรุงมาตรการ/แนวทางการ

                       ด าเนินงานที่เหมาะสมกับสถานการณ์ และใช๎เป็นกรอบแนวทางการจัดท าแผนปฏิบัติการรายปี

                       ของจังหวัดเพื่อประกอบการจัดท างบประมาณประจ าให๎สอดคล๎องกับสถานการณ์ในพื้นที่ และ

                       ให๎ปรับปรุงแผนเผชิญเหตุ ของจังหวัดที่ให๎เป็นปัจจุบันและสอดคล๎องกับสถานการณ์สาธารณภัย
                       ในพื้นที่ รวมทั้งเรํงรัดให๎องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นในพื้นที่จัดท าแผนปฏิบัติการในการปูองกัน

                       และบรรเทาสาธารณภัยครบทุกแหํงในพื้นที่

                              ข้อเสนอแนะจากการตรวจราชการ (เชิงนโยบาย)
                             .ควรให๎ความส าคัญกับการถอดบทเรียน เนื่องจากที่ผํานมามีการถอดบทเรียนแตํไมํมี

                       การน าบทเรียนมาปฏิบัติอยํางแท๎จริง ยกตัวอยําง เชํน อุบัติเหตุทางถนน ภัยจะเกิดชํวงไหน

                       ในห๎วงเวลาในสถานที่ใด จังหวัดควรให๎ความส าคัญกับการถอดบทเรียนในห๎วงเวลาที่เกิดอุบัติเหตุ

                                                                                                    ”
                       มากที่สุดและเอาข๎อมูลนั้นมาเป็นเปูาหมายในการแก๎ไขปัญหาสาธารณภัยตําง ๆ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22