Page 9 - รายงานกรณีศึกษาห้วยขาแข้ง
P. 9

5.4) ความร่วมมือในทุกระดับ โดยระดับระหว่างประเทศ ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพการประชุมรัฐมนตรีด้าน

         สิ่งแวดล้อมจ านวน 13 ประเทศ จนเกิดปฏิญญาหัวหิน ซึ่งเป็นปฏิญญาด้านการอนุรักษ์เสือโคร่งฉบับแรก ประเทศไทยเป็น
         แหล่งส าคัญของเสือโคร่งในภูมิภาคอินโดจีน ความร่วมมือของภูมิภาคจึงมีความส าคัญในการขยายผืนป่าให้มีการเชื่อมโยง
         ไม่เฉพาะในประเทศไทยแต่ทั้งภูมิภาคอินโดจีน ส าหรับความร่วมมือภายในประเทศมีเพิ่มขึ้นต่อเนื่องระหว่างหน่วยงาน
         โดยเฉพาะกรมอุทยานฯ ท างานร่วมกับองค์กรทั้งภายในและนอกประเทศ ตั้งแต่การลาดตระเวนป้องกันภายใต้ Smart patrol

         การอนุรักษ์และฟื้นฟูถิ่นที่อยู่อาศัย การมีส่วนร่วม และการวิจัยและพัฒนาข้อมูล
                   5.5) นโยบายของกรมอุทยานฯ ในการอนุรักษ์ ล าดับแรกคือ การป้องกัน ซึ่งมีความส าคัญที่สุด ถ้าสามารถ
         ป้องกันบ้านที่เป็นถิ่นที่อยู่ของเสือ ซึ่งก็คือป่าเอาไว้ให้เป็นผืนใหญ่พอสมควรได้ จะเป็นการป้องกันการลดลงของเสือโคร่งอีก

         ทางหนึ่ง
                   5.6) การลาดตระเวน โดยให้ความส าคัญกับการลาดตระเวนที่ครอบคลุม ซึ่งปัจจุบันการลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
         หรือที่เรียกว่า smart patrol เป็นการเดินส ารวจ และวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงต่างๆ สิ่งที่ส าคัญที่สุดคือ สามารถส ารวจได้ตามที่

         ก าหนดไว้ร้อยละ 70 ของพื้นที่ ในทุกจุดที่ติดตาม มีเจ้าหน้าที่กรมอุทยานฯ เดินส ารวจ เรื่องที่ส าคัญอีกเรื่องหนึ่งคือ ป่าถูก
         แบ่งถูกแยกออกเป็นกลุ่มก้อน ด้วยส่วนหนึ่งจากปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน ปัจจุบันอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ได้มีการยกระดับ
         ด้วยการสร้างอุโมงค์เพื่อให้ป่าเชื่อมโยงกัน ทั้งอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติทับลาน ท าให้พบว่ามีการเคลื่อนย้าย

         ของสัตว์ป่า เสือโคร่งจากเขาใหญ่ไปยังพื้นที่อื่น “อันนี้เป็นการสร้างระเบียงหรือ corridor เพื่อเชื่อมโยงผืนป่าให้ใหญ่ขึ้น เป็น
         การอนุรักษ์สัตว์ป่าและระบบนิเวศ”
                   5.7) นโยบายของรัฐบาลโดยเฉพาะด้านการวางยุทธศาสตร์และการปฏิรูปประเทศที่สนับสนุนการด าเนินการ

         และการวิจัย
                   5.8) ความร่วมมือเป็นหัวใจของความส าเร็จในการอนุรักษ์สัตว์ป่า ผืนป่า ซึ่งผืนป่าจะอยู่ได้ต้องอาศัยความ
         ร่วมมือจากภาคประชาชนและเอกชน

           3.2  การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศสัตว์ป่า
                 1)  เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานมีความทุ่มเท เสียสละ สามัคคี และเห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง
                 2)  ความรู้และประสบการณ์ของเจ้าหน้าที่ และนักวิจัย ในการเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางาน
         เพาะเลี้ยงสัตว์ป่า ซึ่งมีความหลากหลายของชนิดพันธุ์สัตว์

                 3)  การเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง เป็นประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อมที่มีความส าคัญใน
         ระดับโลก ส่งผลให้สถานีเพาะเลี้ยงฯ ได้รับความสนใจจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน

                 4)  การบูรณาการความร่วมมือของหน่วยงานในการจัดการประเด็นสัตว์ป่าของกลาง เช่น การรับสัตว์ป่าของกลางไป
         ดูแลต่อ จากองค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย





























                                                            5
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14